หรือ : http://www.mediafire.com/?swovv4ru3s3a99y
.....................





มรว.คึกฤทธิ์บอกเป็นนัยว่าตัวปัญหาที่แท้จริงคือพระราชินีสิริกิติ์ที่เอาแต่ใจ และเสนอทางถอยให้ในหลวง แต่ในหลวงไม่ยอมถอย ไม่ทรงเห็นว่าการปราบปรามคอมมิวนิสต์แบบตาต่อตาของธานินทร์จะแย่ตรงไหน







นายกเกรียงศักดิ์ขอให้ฮานอย ปักกิ่งและเวียงจันทน์ลดการช่วยเหลือพคท.ไม่นานสมาชิกระดับสูงของพคท.บางส่วนก็ยอมแพ้และกลับมากรุงเทพฯ การนิรโทษกรรมดึงคนออกจากป่าได้ราว 400 คนในปี 2521 นับเป็นจุดเริ่มต้นการเสื่อมสลายของพคท.

รัฐบาลเกรียงศักดิ์ต้องการให้วังเป็นกลางทางการเมือง จึงจำกัดกิจกรรมลูกเสือชาวบ้าน ในหลวงภูมิพลจึงต้องหวนกลับมาใช้วิธีเดิมเหมือนตอนแรกๆที่ขึ้นครองราชย์ คือ เร่งขยายงานพระราชพิธีและพระราชกรณียกิจ เพื่อสร้างพระบุญญาบารมี









พลเอกเปรมเป็นนายกรัฐมนตรีในปี 2523 โดยควบตำแหน่งรัฐมนตรีกลาโหมและผบ.ทบ. ซึ่งเป็นสิ่งที่ไม่ควร แต่พระเจ้าอยู่หัวก็ทรงโปรดเกล้าฯเห็นดีเห็นงาม แต่ก็ยอมๆกันไป เพราะว่าพลเอกเปรมจะเกษียณจากทหารเมื่ออายุ 60 ในเดือนตุลาคมปีนั้น


เศรษฐกิจถดถอย หลังจากพลเอกเปรมเป็นรัฐบาลไม่ถึงปี พรรคการเมืองร่วมรัฐบาลก็เริ่มโวยวายแถมมีเรื่องทุจริตอื้อฉาวหลายกรณี และพลเอกเปรมจะขอต่ออายุราชการในฐานะผบ.ทบ. อีกปีหนึ่ง เมื่อต้นปี 2524 รัฐมนตรีหลายคนลาออก มรว.คึกฤทธิ์ก็ถอนพรรคกิจสังคมออกจากการร่วมรัฐบาล
































การโฆษณาชวนเชื่อเทิดทูนสถาบันกษัตริย์ได้ถอยหลังไปสู่ยุคโบราณที่ถือว่า พระมหากษัตริย์ คือเจ้าชีวิต ผู้เป็นเจ้าของทุกสิ่งทุกอย่าง และประทับอยู่บนหัวของราษฎร โดยไม่ให้ความสำคัญกับสถาบันตามระบอบประชาธิปไตย เช่น รัฐธรรมนูญ รัฐสภาและหลักกฎหมายโดยถือว่าเป็นของนำเข้าจากตะวันตก

โดยย้ำว่าประชาชนไม่ใช่รัฐบาล



พระราชินีสิริกิติ์ก็ทรงแสดงบทบทบาทช่วยเหลือผู้ด้อยโอกาส ผ่านมูลนิธิส่งเสริมศิลปาชีพ ที่ช่วยผู้หญิงฝึกอาชีพหัตถกรรม




















กรณีแรกนายจิรายุ อิศรางกูร ณ อยุธยา รัฐมนตรีของวังถูกกล่าวหาว่าทุจริต จนต้องลาออกแต่ได้ไปรับตำแหน่งผู้อำนวยการสำนักงานทรัพย์สินส่วนพระมหากษัตริย์

กรณีที่สอง รัฐมนตรีคมนาคม นายบรรหาร ศิลปอาชา ถูกกล่าวหาว่าโกงกินอย่างมโหฬารและซื้อเสียง เชื่อกันว่าพลเอกเปรมปล่อยให้บรรหารทุจริตเพราะต้องอาศัยเสียงสส.สนับสนุน








..................
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น