หรือที่ : http://www.mediafire.com/?8fkvsdxmxwt4ddi
ตำนานๆ 009012 : กองทัพมาก่อนประชาชน
.............


คืนวันจันทร์ 11 พฤษภาคม 2535 นายบรรหารกับพล.อ.อ.เกษตร กลับคำและประกาศว่าไม่เคยมีการตกลงใดๆ ขณะที่นายกสุจินดาขู่จะใช้กำลังอย่างเฉียบขาด





ตอนดึก 17 พฤษภาคม 2535 กำลังทหารเคลื่อนที่เข้าหาฝูงชน เริ่มสาดกระสุนเข้าใส่ ฝูงชนแตกตื่นหลบหนี มีผู้เสียชีวิตและบาดเจ็บหลายคน


บ่ายวันจันทร์ 17 พฤษ ภาคม 2535 พลตรีจำลองและผู้ชุมนุมหลายพันคนกลับมานั่งประท้วงบนถนนราชดำเนินอีกครั้ง ทหารเคลื่อนกำลังเข้าจับกุมพวกเขา







พลเอกสุจินดาแถลงสั้นๆ ทางโทรทัศน์พร้อมหัวหน้าพรรคร่วมรัฐบาล นายณรงค์ วงศ์วรรณ นายบรรหารและนายสมัคร ว่าสามารถคุมสถานการณ์ได้ นายสมัครยืนยันว่าการยิงประชาชนนั้นสามารถทำได้เพราะเป็นพวกคอมมิวนิสต์






ทรงเล่าว่านายกสุจินดาเห็นด้วยว่าควรประกาศใช้รัฐธรรมนูญนี้ และแก้ไขต่อไปได้ แต่ตอนหลังพลเอกสุจินดายืนยันว่า แก้ไขได้ก็ค่อยๆแก้ให้เป็นประชาธิปไตย ตามพระบรมราโชวาทที่ทรงให้ไว้ ทั้งๆที่พระเจ้าอยู่หัวภูมิพลสนับสนุนและปกป้องรัฐธรรมนูญของรสช.มาโดยตลอด





เพราะไม่ยอมฟังพระบรมราโชวาท 4 ธันวาคม ที่ให้ค่อยๆ แก้ไขรัฐธรรมนูญ ซึ่งพระองค์เองไม่เคยเห็นความจำเป็นของการแก้ไข แต่พลเอกสุจินดากลับเป็นผู้ที่เปิดใจรับสนองพระบรมราโชวาทและยอมแก้ไขรัฐธรรมนูญ


และพระองค์น่าจะรู้ว่าการแก้ไขรัฐธรรมนูญนั้นเป็นไปไม่ได้เลยเนื่องจากกองทัพครอบงำวุฒิสภา แต่กลับทรงบิดเบือนประเด็นให้เรื่องทั้งหมดเป็นเพียงความอาฆาตพยาบาทส่วนตัวของพลตรีจำลอง

วันถัดมา ทั่วทั้งโลกต้องตะลึงและชื่นชมพระอัจฉริยภาพ ความรุนแรงและการประท้วงหยุดลง พลเอกเปรมในนามของในหลวงได้สั่งพลตรีจำลองให้ผู้ประท้วงยุติการเคลื่อนไหว นายกสุจินดาถูกสั่งให้ลาออก และพรรคการเมืองก็ถูกสั่งให้แก้ไขรัฐธรรมนูญ




































ที่ปราบปรามการลุกฮือของประชาชนในปี 2531 จับกุมคุมขังนักการเมืองรวมทั้งผู้นำฝ่ายค้านคืออองซานซูจี(Aungsan Suu Kyi) ในเดือนตุลาคม 2531 ขณะยังคงถูกคุมตัวในบ้าน ซูจีได้รับรางวัลโนเบลสาขาสันติภาพ แสดงถึงการที่ทั่วโลกยอมรับการต่อสู้ของพวกเขา





ในหลวงภูมิพลทรงมีพระราชดำรัสไม่ต่างจากรัฐบาลทหารพม่าว่า ซูจีแต่งงานกับฝรั่งและร่ำเรียนที่เมืองนอก เธอไม่ได้เป็นตัวแทนคุณค่าดั้งเดิมของพม่า ดังนั้นเธอควรกลับไปอยู่กับครอบครัวที่อังกฤษ





















การขมขู่คำรามของพวกขวาจัดคลั่งเจ้าได้ดำเนินไปตลอดทั้งปี และความพยายามของรัฐบาลนายชวนที่ผ่านระบบรัฐสภาต้องล้มเหลวไม่เป็นท่า ในเดือนธันวาคมรัฐบาลนายชวนได้ยื่นญัตติขอแก้ไขรัฐธรรมนูญชนิดที่อ่อนลงมามากแล้ว

พลเอกชวลิตประเมินว่ารัฐบาลนายชวนคงล้มแน่ จึงถอนพรรคจากการร่วมรัฐบาลโดยหวังว่ารัฐบาลคงพัง และตนเองจะได้เป็นนายกฯคนต่อไปพร้อมด้วยการสนับสนุนจากกองทัพ แต่พลเอกเปรมได้ยื่นมือเข้ามาแทรกแซงอีกครั้ง
























สองสามปีจากนั้น มีการประหารชีวิตเพิ่มขึ้นอีก กรณีฆ่าคนตายและค้ายาเสพติดเห็นชัดว่าพระเจ้าอยู่หัวภูมิพลตั้งพระทัยปฏิเสธฎีกา บางคนว่าทรงเริ่มหมดความอดทนกับสังคมไทยขณะที่วาระของพระองค์คงใกล้สิ้นสุดลง คนอื่นๆคิดว่าทรงได้ตัดสินใจเด็ดขาดแล้วว่าโทษประหารชีวิตเป็นวิธีการที่เป็นประโยชน์ในการรักษาความสงบเรียบร้อย










พล.อ.อ. สิทธิ เศวตศิลา องคมนตรีได้เป็นกรรมการของบริษัทในเครือซีพีหลายแห่ง ตำแหน่งทั้งหมดมีเงินเดือน


เสี่ยเจริญเข้าเทคโอเวอร์กลุ่มโรงแรมอิมพีเรียลที่กำลังจะล้มละลาย พลเอกเปรมได้เป็นประธานกิตติมศักดิ์ของบริษัทนี้ ลูกพี่ลูกน้องของราชินีสิริกิติ์ มรว. สฤษดิคุณ กิติยากรได้เป็นประธานบริษัท

เสี่ยเจริญตั้งพี่ชายของราชินีสิริกิติ์ที่เป็นองคมนตรีคือ มรว. อดุลกิติ์ กิติยากรเป็นประธานบริษัทเบียร์ช้างที่ตั้งขึ้นใหม่ เสี่ยเจริญกับภรรยาคือคุณวรรณาได้รับเครื่องราชฯ ชั้นสูงได้เป็นคุณหญิง








การที่มีพลเอกเปรมนั่งค้ำตำแหน่งอยู่ทำให้มีความอุ่นใจว่าธุรกิจพวกนั้นต้องเชื่อฟังวังและตู้รับเงินบริจาคของพระเจ้าอยู่หัวภูมิพลจะเต็มอยู่เสมอ ในอีกทางหนึ่งสำนักงานทรัพย์สินส่วนพระมหากษัตริย์ได้เอาเศรษฐีใหม่เข้ามาเป็นหุ้นส่วนทางธุรกิจ



นายปิ่น จักกะพาก พ่อมดทางการเงินแห่ง บริษัท
เงินทุนหลักทรัพย์เอกธนกิจ Finance One



ธุรกิจอีกประเภทหนึ่งนำมาซึ่งได้ทั้งผลกำไรและชื่อเสียงทางสังคมให้แก่พวกเศรษฐีใหม่และเป็นที่สนใจของคนในแวดวงของวังคือการลงทุนในธุรกิจด้านการศึกษา

โดยสถาบันการศึกษาเอกชนใหญ่หลายแห่งร่วมกับโรงเรียนที่มีชื่อเสียงของต่างประเทศ เช่น โรงเรียนมัธยมแฮโรว์ Harrow Schoolของอังกฤษ


ทางราชวงศ์ได้ลงทุนเป็นหุ้นส่วนโดยตรงกับโรงเรียนภาษาจีลองโดยสร้างโรงเรียนประจำสำหรับลูกหลานของผู้มีอันจะกินที่ดอยตุงซึ่งเป็นเขตอิทธิพลของพระราชชนนีศรีสังวาลย์





ในหลวงภูมิพลมิใช่พระมหากษัตริย์โดยกำเนิด ไม่ใช่รัชทายาทที่เป็นพระราชโอรสของพระมเหสีอย่างเช่นรัชกาลก่อนๆ พระองค์ได้เป็นกษัตริย์เพราะพระเชษฐาถูกปลงพระชนม์อย่างมีเงื่อนงำ และรัชกาลที่ 8ได้ครองราชย์เพราะคณะราษฎรเห็นว่ายังเป็นเด็ก คงไม่มีพิษภัย

.............
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น